Olympism (อุดมการณ์โอลิมปิก)
1. Olympism is a philosophy of life, exalting and combining in a balanced whole the qualities of body, will and mind. Blending sport with culture and education, Olympism seeks to create a way of life based on the joy of effort, the educational value of good example, social responsibility and respect for universal fundamental ethical principles.
2. The goal of Olympism is to place sport at the service of the harmonious development of humankind, with a view to promoting a peaceful society concerned with the preservation of human dignity.
3.อุดมการณ์โอลิมปิกเป็นปรัชญาชีวิตโดยเป็นสภาวะที่เกิดจากความมุ่งมั่นตั้งใจและความพยายามในการที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้สำเร็จ ซึ่งเป็นเรื่องของความดี ความงาม จริยธรรมและคุณธรรม และเป็นการหลอมรวมกีฬากับวัฒนธรรม
สรุป อุดมการณ์โอลิมปิกเป็นปรัชญาชีวิตที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ทั้งทางร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณด้วยคุณค่าของโอลิมปิก 3 ประการนั่นคือความยอดเยี่ยม (Excellence) มิตรภาพ (Friendship) และการเคารพให้เกียรติซึ่งกันและกัน (Respect) อันเป็นพื้นฐานของความดีงามที่เกิดจากการหลอมรวมคุณค่าของการกีฬา การศึกษาและวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดความสงบสุขของมวลมนุษยชาติ
กระบวนการโอลิมปิก (Olympic Movement)
4. The Olympic Movement is a global phenomenon that transcends the boundaries of
sport and culture and extends to education, politics, economic and technology.
5. The Olympic Movement is the concerted, organised, universal and permanent action, carried out under the supreme authority of the IOC, of all individuals and entities who are inspired by the values of Olympism. It covers the five continents. It reaches its peak with the bringing together of the world’s athletes at the great sports festival, the Olympic Games. Its symbol is five interlaced rings.
6. กระบวนการโอลิมปิกเป็นเรื่องของการศึกษาสังคมเพื่อพัฒนามนุษย์และให้เกิดความเข้าใจในสากลนิยม โดยใช้การกีฬาเป็นสื่อในการที่จะดำรงหลักการของ “อุดมการณ์โอลิมปิก”
7. กระบวนการโอลิมปิกเป็นความร่วมมือระหว่าง “ครอบครัวโอลิมปิก” (Olympic Family) ภายใต้กรอบของ “กฎบัตรโอลิมปิก” (Olympic Charter)
สรุป กระบวนการโอลิมปิกเป็นปรากฏการณ์ของโลกที่อยู่เหนือขอบเขตของการกีฬา การศึกษาและวัฒนธรรมโดยมีการขับเคลื่อนที่มีกระบวนการอย่างเป็นระบบและครอบคลุมหลากหลายมิติเพื่อดำรงรักษาไว้ซึ่งคุณค่าของ “อุดมการณ์โอลิมปิก"
โอลิมปิกศึกษา (Olympic Education)
5. The Olympic Movement is the concerted, organised, universal and permanent action, carried out under the supreme authority of the IOC, of all individuals and entities who are inspired by the values of Olympism. It covers the five continents. It reaches its peak with the bringing together of the world’s athletes at the great sports festival, the Olympic Games. Its symbol is five interlaced rings.
6. กระบวนการโอลิมปิกเป็นเรื่องของการศึกษาสังคมเพื่อพัฒนามนุษย์และให้เกิดความเข้าใจในสากลนิยม โดยใช้การกีฬาเป็นสื่อในการที่จะดำรงหลักการของ “อุดมการณ์โอลิมปิก”
7. กระบวนการโอลิมปิกเป็นความร่วมมือระหว่าง “ครอบครัวโอลิมปิก” (Olympic Family) ภายใต้กรอบของ “กฎบัตรโอลิมปิก” (Olympic Charter)
สรุป กระบวนการโอลิมปิกเป็นปรากฏการณ์ของโลกที่อยู่เหนือขอบเขตของการกีฬา การศึกษาและวัฒนธรรมโดยมีการขับเคลื่อนที่มีกระบวนการอย่างเป็นระบบและครอบคลุมหลากหลายมิติเพื่อดำรงรักษาไว้ซึ่งคุณค่าของ “อุดมการณ์โอลิมปิก"
โอลิมปิกศึกษา (Olympic Education)
8. Olympic Education is a process of educating and developing the individual according to
universal values and ideals of Olympism.
9. The main goal of Olympic Education is to show how the principles of sport and Olympism can be applied in practice during teaching.
10. โอลิมปิกศึกษาจากหลักปรัชญาสู่การปฏิบัติประกอบด้วยหลัก 3 ประการ คือ 1. การเชื่อมโยงกิจกรรมการเรียนรู้จากคุณค่าโอลิมปิก (เช่นประวัติความเป็นมาของโอลิมปิกเกมส์ ความหมายของสัญลักษณ์ โอลิมปิก) 2. การสร้างงานศิลปะจากกิจกรรมการเรียนรู้คุณค่าโอลิมปิก (เช่น การวาดภาพ การร้องเพลง การถ่ายภาพ) และ 3. กิจกรรมการเคลื่อนไหว ซึ่งเป็นหลักสำคัญของการเรียนรู้คุณค่าโอลิมปิก (เช่น กิจกรรมทางกาย (physical activities) ทุกชนิดที่สามารถสอดแทรกการรับรู้คุณค่าโอลิมปิก รวมถึงเกมส์การละเล่นและการแข่งขันเพื่อให้เกิดเรียนรู้ทักษะและประสบการณจ์ากหลักการและคุณค่าโอลิมปิก)
การศึกษาคุณค่าโอลิมปิก (Olympic Values Education)
11. Olympism is a philosophy of life.....−What ideas or values are important in your philosophy of life? Pierre de Coubertin, the founder of the modern Olympic Games, said that participation in sport helps young people to develop a balance between body, will and mind.
12. Olympic values education methodologies that highlight dialogue, role modeling, confirmation, practice, stimulating the imagination through creative activities, paying attention to emotional responses and the ethic of care; and foregrounding diversity (cultural, gender, ability) in as many ways as possible.
สรุป โอลิมปิกศึกษาเป็นเครื่องมือหลากหลายที่จะเจาะลึกลงไปในเนื้อหาที่เกี่ยวกับ “กระบวนการโอลิมปิก” (Olympic Movement) เพื่อพัฒนาไปสู่การเรียนรู้คุณค่าของ “อุดมการณ์โอลิมปิก”
สรุป การศึกษาคุณค่าโอลิมปิกเพื่อดำรงรักษาไว้ซึ่งอุดมการณ์โอลิมปิก ประกอบด้วยหลักการ 5 ประการ ดังนี้ 1. การเข้าร่วมกิจกรรมด้วยมุ่งมั่นตั้งใจ (Joy of Effort) 2. การเล่นด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม (Fair Play) 3. การเคารพให้เกียรติซึ่งกันและกัน (Respect) 4. การแสวงหาความเป็นเลิศ (Pursuit of Excellence) และ 5. ความสมดุลของร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ (Balance between Body, Will and Mind)
บรรณานุกรม
International Olympic Committee. Olympic Charter, 2013.
Binder, D. 2007. Teaching Values: An Olympic Education Toolkit. Lausanne: International Olympic Committee
Binder, D. 2011. Olympism: Pedagogy of an educational philosophy. Educational Review, Vol 64. No.3, August 2012, 275 – 302.
Supitr. 2002. Olympism, Olympic Movement and Olympic Education: National Olympic Committee of Thailand.
9. The main goal of Olympic Education is to show how the principles of sport and Olympism can be applied in practice during teaching.
10. โอลิมปิกศึกษาจากหลักปรัชญาสู่การปฏิบัติประกอบด้วยหลัก 3 ประการ คือ 1. การเชื่อมโยงกิจกรรมการเรียนรู้จากคุณค่าโอลิมปิก (เช่นประวัติความเป็นมาของโอลิมปิกเกมส์ ความหมายของสัญลักษณ์ โอลิมปิก) 2. การสร้างงานศิลปะจากกิจกรรมการเรียนรู้คุณค่าโอลิมปิก (เช่น การวาดภาพ การร้องเพลง การถ่ายภาพ) และ 3. กิจกรรมการเคลื่อนไหว ซึ่งเป็นหลักสำคัญของการเรียนรู้คุณค่าโอลิมปิก (เช่น กิจกรรมทางกาย (physical activities) ทุกชนิดที่สามารถสอดแทรกการรับรู้คุณค่าโอลิมปิก รวมถึงเกมส์การละเล่นและการแข่งขันเพื่อให้เกิดเรียนรู้ทักษะและประสบการณจ์ากหลักการและคุณค่าโอลิมปิก)
การศึกษาคุณค่าโอลิมปิก (Olympic Values Education)
11. Olympism is a philosophy of life.....−What ideas or values are important in your philosophy of life? Pierre de Coubertin, the founder of the modern Olympic Games, said that participation in sport helps young people to develop a balance between body, will and mind.
12. Olympic values education methodologies that highlight dialogue, role modeling, confirmation, practice, stimulating the imagination through creative activities, paying attention to emotional responses and the ethic of care; and foregrounding diversity (cultural, gender, ability) in as many ways as possible.
สรุป โอลิมปิกศึกษาเป็นเครื่องมือหลากหลายที่จะเจาะลึกลงไปในเนื้อหาที่เกี่ยวกับ “กระบวนการโอลิมปิก” (Olympic Movement) เพื่อพัฒนาไปสู่การเรียนรู้คุณค่าของ “อุดมการณ์โอลิมปิก”
สรุป การศึกษาคุณค่าโอลิมปิกเพื่อดำรงรักษาไว้ซึ่งอุดมการณ์โอลิมปิก ประกอบด้วยหลักการ 5 ประการ ดังนี้ 1. การเข้าร่วมกิจกรรมด้วยมุ่งมั่นตั้งใจ (Joy of Effort) 2. การเล่นด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม (Fair Play) 3. การเคารพให้เกียรติซึ่งกันและกัน (Respect) 4. การแสวงหาความเป็นเลิศ (Pursuit of Excellence) และ 5. ความสมดุลของร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ (Balance between Body, Will and Mind)
บรรณานุกรม
International Olympic Committee. Olympic Charter, 2013.
Binder, D. 2007. Teaching Values: An Olympic Education Toolkit. Lausanne: International Olympic Committee
Binder, D. 2011. Olympism: Pedagogy of an educational philosophy. Educational Review, Vol 64. No.3, August 2012, 275 – 302.
Supitr. 2002. Olympism, Olympic Movement and Olympic Education: National Olympic Committee of Thailand.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น